Top 10 similar words or synonyms for kam

hai    0.919394

shu    0.917660

dun    0.913974

kuo    0.910377

hung    0.907245

wai    0.906962

hui    0.903922

chiu    0.903326

pai    0.901824

lu    0.901145

Top 30 analogous words or synonyms for kam

Article Example
สถานีกำแพงเพชร สถานีกำแพงเพชร (, รหัส KAM) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดินในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนกำแพงเพชร กรุงเทพมหานคร ใช้ชื่อตามถนนกำแพงเพชร ซึ่งตั้งตามพระนามของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน ตั้งอยู่ใจกลางแหล่งค้าขายที่สำคัญคือตลาดนัดจตุจักร ตลาดกลางองค์การตลาดเพื่อเกษตร และตลาดสัตว์เลี้ยง องค์การส่งเสริมกิจการโคมนมแห่งประเทศไทย
กง ยู ปี ค.ศ. 2004 กง ยูได้รับบทนำเป็นครั้งแรกจากภาพยนตร์แนวแอ๊กชั่นคอมเมดี้เรื่อง Spy Girl โดยรับบทเป็น Ko Bong หนุ่มขี้อายที่เกิดไปตกหลุมรักสายลับสาวชาวเกาหลีเหนือ Kye Soon (รับบทโดย Kim Jung-Hwa) ที่แอบเข้ามาเกาหลีใต้เพื่อสืบหาข้อมูลลับสุดยอดของทางเกาหลีใต้ และยังมีผลงานภาพยนตร์อีกสองเรื่องเข้าฉายปลายปี เรื่องแรกคือ Mr. Gam's Victory ภาพยนตร์ที่หยิบเอาเรื่องจริงของสุดยอดนักเบสบอลผู้เป็นตำนานของเกาหลี Kam Sa-Yong (รับบทโดย Lee Beom-Su) มาถ่ายทอดบนจอภาพยนตร์เป็นครั้งแรก โดย กง ยู รับบทเป็นนักกีฬาเบสบอลในทีมเดียวกันกับ Kam Sa-Yong และภาพยนตร์อีกเรื่องคือเรื่อง S Diary เป็นภาพยนตร์ที่เล่าเรื่องราวของสมุดบันทึกลับของหญิงสาวคนหนึ่ง (รับบทโดย Kim Seon-A) ที่เก็บความลับเกี่ยวกับชายหนุ่มต่างๆมากมายที่เข้ามาในชีวิตเธอตั้งแต่อดีต จนถึงปัจจุบัน ซึ่ง กง ยู รับบทเป็นหนึ่งในชายหนุ่มที่เป็นอดีตคนรักของหญิงสาวเจ้าของไดอารี่ลับ เล่มนั้น
สุริยา รัตนกุล 1996 Suriya Ratanakul and Somsonge Burusphat, Languages and cultures of the Kam-Tai (Zhuang-Dong) Group: A Word List, Sahathammika Press, pp.481.
และสำหรับการที่ ฃ และ ฅ ค่อย ๆ หายไปจากภาษาปัจจุบันนั้น ยังเกิดจากอีกสาเหตุหนึ่งที่เป็นลักษณะธรรมชาติของภาษาที่ว่า เสียงใดเป็นเสียงโดดเดี่ยว ไม่มีความสัมพันธ์กับพยัญชนะใดเป็นพิเศษจะเปลี่ยนแปลงเสียง หรือสูญเสียเสียงได้เร็วกว่าพยัญชนะที่มีความสัมพันธ์กันอย่างแน่นแฟ้น ยกตัวอย่างเช่น ป ต จ ก อ ที่มีความสัมพันธ์กันอย่างแน่นแฟ้น เพราะเป็นเสียงก้อง ไม่มีลม แต่เนื่องจาก ฃ และ ฅ เป็นเสียงโดดเดี่ยว ดังนั้น เมื่อเวลาผ่านไป ฐานที่เกิดขึ้นจาก ฃ และ ฅ จะเขยิบขึ้นมากลายเป็น ข และ ค ตามลำดับ ซึ่งศาสตราจารย์ ดร. คุณหญิงสุริยา รัตนกุลได้กล่าวว่า ""...คนไทยในสมัยปัจจุบันไม่ได้มีหน่วยเสียงเสียดแทรกที่ฐานกรณ์ลิ้นไก่อยู่เหมือนในสมัยพ่อขุนรามคำแหง การค้นพบเสียงนี้ในภาษาไทขาวในประเทศเวียดนามและในภาษาตระกูลกัม-สุย (Kam-Sui) ในประเทศจีนช่วยให้ข้อสันนิษฐานในบทความนี้น่าเชื่อถือยิ่งขึ้น แต่การที่จะคิดว่าควรให้ภาษาไทขาวหรือภาษาตระกูลกัม-สุย เป็นต้นแบบสำหรับให้คนไทยหัดออกเสียง และเสียง ตลอดจนความพยายามที่จะรื้อฟื้นนำ ฃ และ ฅ กลับมาใช้ใหม่นั้น คงเป็นความพยายามประเภทที่คนไทยเรียกว่า "ขี่ช้างจับตั๊กแตน"...""
ธีรนัยน์ ณ หนองคาย ต่อมาด้วยกระแสการบอกเล่าแบบปากต่อปากได้ทำให้สื่อมวลชนเริ่มให้ความสนใจมากขึ้นและละครได้รับการตอบรับที่ดีขึ้นเรื่อยๆ จนทางคณะต้องนำไปแสดงเพิ่มเติมที่ โรงละครกาดเธียเตอร์ เชียงใหม่ จำนวน 4 รอบ ในวันที่ 13-15 กุมภาพันธ์ 2547 และนำกลับมาเล่นใหม่ถึงสองครั้งในปีถัดมา จำนวน 12 รอบ ที่โรงละครกรุงเทพ และ โรงละครกาดเธียเตอร์ ในวันที่ 18-28 มีนาคม และ 2-4 เมษายน 2547 ตามลำดับ และในงานอำลาและปิดกิจการของโรงละครกรุงเทพ จำนวน 5 รอบ ในวันที่ 5-7 พฤศจิกายน 2547 ตามลำดับ และธีรนัยน์ ก็ได้พัฒนาความสามารถในการแสดงดีขึ้นเรื่อยๆ เช่น คุณ Alongkorn Parivudhiphongs ได้ให้ความเห็นในบทความ 'Ku Kam' makes a return ในหนังสือพิมพ์ Bangkok Post ในวันที่ 24 มีนาคม 2547 ว่า