Top 10 similar words or synonyms for ปลากด

polyuranodon    0.901238

ปลากราย    0.900757

ปลากดทะเล    0.897404

hemibagrus    0.890179

harmandi    0.888057

ปลาไหลนา    0.887909

ปลาหมอ    0.887338

aplocheilus    0.886035

ปลาสวาย    0.885063

pleurotaenia    0.882733

Top 30 analogous words or synonyms for ปลากด

Article Example
วงศ์ปลากด เป็นปลาเศรษฐกิจที่สำคัญ นิยมนำมาบริโภคบ่อย ปลาในวงศ์นี้ มีชื่อสามัญในภาษาไทยมักเรียกรวม ๆ กันว่า "ปลากด" ในปลาขนาดใหญ่ และ "ปลาแขยง" (ปลาลูกแหยง ในภาษาใต้) หรือ "ปลามังกง" ในปลาขนาดเล็ก โดยมีสกุลที่ใหญ่ที่สุดคือสกุล "Rita" ที่พบได้ในประเทศอินเดียและแม่น้ำสาละวินที่เมื่อโตเต็มที่อาจใหญ่ได้ถึง 2 เมตร
อันดับปลาหนัง อันดับปลาหนัง หรือ ตระกูลปลาหนัง () เป็นอันดับทางอนุกรมวิธานของปลากระดูกแข็งอันดับหนึ่ง ใช้ชื่อชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Siluriformes (/ซิ-ลู-ริ-ฟอร์-เมส/) อันดับปลาหนังเป็นอันดับที่มีจำนวนปลามากถึง 35 วงศ์ และ 2,867 ชนิด ซึ่งประกอบไปด้วยปลาที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ เช่น ปลาดุก, ปลาสวาย, ปลาบึก, ปลาเนื้ออ่อน, ปลากด
ปลามังกง เมื่อโตเต็มวัยจะมีขนาดประมาณ 12-15 เซนติเมตร พบใหญ่สุดถึง 46 เซนติเมตร มักอาศัยอยู่เป็นฝูงใหญ่บริเวณน้ำกร่อยหรือปากแม่น้ำ พบชุกชุมที่อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา คำว่า "บางปะกง" นั้นก็เรียกเพี้ยนมาจากคำว่า "บางมังกง" อีกทอดหนึ่ง นอกจากนี้ปลามังกงยังมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีกมาก เช่น ปลากดหมู, ปลากด, ปลาแขยงกง
องค์การบริหารส่วนตำบลบางปลากด ตำบลบางปลากด ได้มีราษฎรอพยพมาจากจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และสมุทรสงคราม เป็นบางส่วน อาศัยอยู่ตามลำคลองเป็นกลุ่มๆ ต่อมา ปี พ.ศ. 2475 จึงตั้งชื่อตำบลนี้ว่า ตำบลบางปรากฏ เพราะมีปลาน้ำจืดชุกชุม ต่อมาเรียกว่า "ปลากด" ภาษาที่ชาวบ้านพูดเรียกปลานี้ว่าปลากด จึงได้เปลี่ยนชื่อจากคำว่า "ปรากฏ" เป็น "ตำบลบางปลากด" ปัจจุบันตำบลบางปลากด เป็นตำบลในเขตการปกครองของอำเภอองครักษ์ ซึ่งประกอบด้วย 11 หมู่บ้านได้แก่ บ้านคลอง 29, บ้านคลองหมาหลง, บ้านเหนือประตูน้ำ, บ้านคลอง 30, บ้านล่าง, บ้านกลาง, บ้านเกาะกลาง, บ้านเกาะ, บ้านนอก, บ้านบน, บ้านคูคต
พื้นที่สงวนชีวมณฑลสวนสัก-ห้วยทาก พื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ภายใต้การดูแลของกรมป่าไม้ มีเนื้อที่ประมาณ 184,000 ไร่ (29,440 เฮกแตร์) ประกอบด้วยผืนป่าหลายสภาพ ได้แก่ ป่าผสมผัดใบที่มีไม้สัก (mixed deciduous with take forest) โดยมีชนิดไม้ที่สำคัญๆ ได้แก่ สัก ประดู่ แดงมะค่าโมง ยมหิน กระบก เป็นต้น ป่าเต็งรัง (dry dipterocarp forest) โดยมีชนิดไม้ที่สำคัญ ได้แก่ เต็ง รัง เหียง ก่อเหมือด ป่าดิบแล้ง (dry evergreen forest) ประกอบด้วยชนิดไม้ที่สำคัญ เช่น ยาง ก่อ อบเชย ดงดำ เหมือด และสวนสัก (take forest plantation) จำนวน 3 สวน โดยสภาพป่าธรรมชาติบางส่วนยังคงความสมบูรณ์อยู่ สัตว์ป่าชนิดต่างๆเท่าที่สำรวจพบในปัจจุบันได้แก่ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม (mammals) เช่น หมี เก้ง กวางป่า (เหลืออยู่น้อยมาก) หมูป่า ลิง อีเห็น กระต่ายป่า อ้น ตุ่น กระรอก กระแต สัตว์จำพวกนก (birds) เช่น เหยี่ยว นกเขาเขียว นกขวิด นกเปล้า นกมะแห้ นกเขา นกฮูก นกแซงแซว นกกระปุด นกโพระดก ไก่ป่า ฯลฯ สัตว์เลื้อยคลาน (reptiles) เช่น ตัวนิ่มหรือลิ่น ตะกวด แย้ งูสิง งูเหลือม งูเห่า ฯลฯ สัตว์สะเทิ้นน้ำสะเทิ้นบก (amphibians) เช่น ตะพาบน้ำ เต่า กบ เขียด อึ่งอ่าง สัตว์จำพวกปลา (fishes) เช่น ปลาตะเพียน ปลาช่อน ปลากั้ง ปลากด ปลากระทิง ฯลฯ นอกจากนี้ยังมี สัตว์จำพวกแมลง (insects) จำนวนมากมายหลายชนิด เช่น ผีเสื้อ ด้วงหนวดยาว กว่างดาว ด้วงดีด ด้วงดินขอบทองแดง แมลงช้างหนวดสั้น แมลงช้างหนวดยาว ฯลฯ ซึ่งขณะนี้ได้สำรวจพบมดชนิดพันธุ์ใหม่ของโลกและกำลังอยู่ในระหว่างการขอเสนอตั้งชื่อ